Skip to content

   Login

เยี่ยมชมโครงการอาสา
ARRAG PROJECT
MENU
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
  • หลักการ
    • หลักการของโครงการ
    • หลักการของโครงการป้องกันภัยจากปัจจัยเสี่ยง
    • หลักการของโครงการสร้างภูมิคุ้มกันภัยจากจราจร
  • แนวคิด
    • หลักทฤษฎีหลักของโครงการฯ
    • โครงสร้างของชุดสื่อกิจกรรมระดับอนุบาล
      • ภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
      • ภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
    • โครงสร้างของชุดสื่อกิจกรรมระดับประถม
      • ภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      • ภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    • การเก็บข้อมูลสถิติจากการลงพื้นที่ในการจัดกิจกรรม
      • ผลการสำรวจบริบทด้านการพนันตามบริบทของพื้นที่
      • ผลการสำรวจบริบทด้านอุบัติเหตุท้องถนนตามบริบทของพื้นที่
  • ตัวละคร
    • ตัวละครเอก
    • ตัวปีศาจ
  • ชุดสื่อกิจกรรม
    • โครงการขยายผลโครงการอารักข์
    • เกมออนไลน์
      • เกมออนไลน์สร้างภูมิคุ้มกันจากการพนัน
      • เกมออนไลน์สร้างภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
    • ภาพยนตร์รณรงค์
    • กลอน
    • ละคร
    • เพลง
    • สื่อประกอบกิจกรรม
      • ป้ายไวนิล
      • การประกอบไฟจราจร
    • กิจกรรม
      • กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
      • กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
    • การทดลอง
    • การทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อชุมชน
  • การพัฒนาชุดสื่อ
    • การพัฒนาชุดสื่อ/ กิจกรรมกับโรงเรียนต้นแบบ
      • โรงเรียนปลูกปัญญา
  • การเข้าร่วม
        • การสมัครเข้าเป็นเครือข่าย
          • ลงทะเบียน
        • ดาวน์โหลดข้อมูล
          • กลอน
          • เพลง
          • สื่อประกอบกิจกรรม
            • การประกอบไฟจราจร
  • ติดต่อเรา
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    • การส่งภาพกิจกรรม แผนการสอน
  • News
Open Menu Close
MENU
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
  • หลักการ
    • หลักการของโครงการ
    • หลักการของโครงการป้องกันภัยจากปัจจัยเสี่ยง
    • หลักการของโครงการสร้างภูมิคุ้มกันภัยจากจราจร
  • แนวคิด
    • หลักทฤษฎีหลักของโครงการฯ
    • โครงสร้างของชุดสื่อกิจกรรมระดับอนุบาล
      • ภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
      • ภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
    • โครงสร้างของชุดสื่อกิจกรรมระดับประถม
      • ภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      • ภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
        • การใช้กระบวนการ EF และ CT ในกิจกรรม
        • ความสอดคล้องของชุดสื่อกิจกรรมกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    • การเก็บข้อมูลสถิติจากการลงพื้นที่ในการจัดกิจกรรม
      • ผลการสำรวจบริบทด้านการพนันตามบริบทของพื้นที่
      • ผลการสำรวจบริบทด้านอุบัติเหตุท้องถนนตามบริบทของพื้นที่
  • ตัวละคร
    • ตัวละครเอก
    • ตัวปีศาจ
  • ชุดสื่อกิจกรรม
    • โครงการขยายผลโครงการอารักข์
    • เกมออนไลน์
      • เกมออนไลน์สร้างภูมิคุ้มกันจากการพนัน
      • เกมออนไลน์สร้างภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
    • ภาพยนตร์รณรงค์
    • กลอน
    • ละคร
    • เพลง
    • สื่อประกอบกิจกรรม
      • ป้ายไวนิล
      • การประกอบไฟจราจร
    • กิจกรรม
      • กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจากอุบัติเหตุทางถนน
      • กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยการพนัน
    • การทดลอง
    • การทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อชุมชน
  • การพัฒนาชุดสื่อ
    • การพัฒนาชุดสื่อ/ กิจกรรมกับโรงเรียนต้นแบบ
      • โรงเรียนปลูกปัญญา
  • การเข้าร่วม
        • การสมัครเข้าเป็นเครือข่าย
          • ลงทะเบียน
        • ดาวน์โหลดข้อมูล
          • กลอน
          • เพลง
          • สื่อประกอบกิจกรรม
            • การประกอบไฟจราจร
  • ติดต่อเรา
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    • การส่งภาพกิจกรรม แผนการสอน
  • News
  • หลักการของโครงการ
    เกิดอะไรขึ้น
  •  ปัจจุบันปัญหาของการเลี้ยงดูและให้การศึกษากับเด็กเล็กๆ ไม่ใช่เกิดจากการหาวิธีการสร้างเสริมพัฒนาและปกป้องดูแลเด็ก แต่เกิดจากการปกป้องเด็กจากภาวะเสี่ยงที่มากเกิน ความจำเป็น ซึ่งพบว่าปัญหาดังกล่าว พบมากกว่าเด็กในอดีตอย่างเห็นได้ชัด ที่มักจะแสดงออกด้วยการเลี่ยงเด็กจากสถานการณ์เสี่ยงให้มากที่สุด เพื่อไม่ให้เด็กต้องรับรู้หรือเผชิญกับความเสี่ยงในสังคมหรือสิ่งแวดล้อมทางลบ เช่น การห้ามเด็กในยุคปัจจุบันแบบต่างๆ เช่น
    • ห้ามปีนต้นไม้เอง
    • ห้ามเล่นซ่อนแอบ
    • ห้ามวิ่งไล่จับหรือการไปเล่นในสวนสาธารณะโดยลำพังเพราะกลัวจะเกิดอันตรายถ้าไม่มีผู้ใหญ่อยู่ด้วย
  •  ในขณะที่เด็กสมัยก่อนมีโอกาสได้มีโอกาสเล่นตามลำพัง หรือลองผิดลองถูกกับสิ่งที่ท้าทายมากกว่าเด็กในปัจุบัน พบว่าการปกป้องดังกล่าวมีตั้งแต่การปกป้องในเขตบ้าน โรงเรียนรวมไปถึงการปกป้องเด็กจากความเสี่ยงในสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาท้าทายสังคมไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเข้าไปในสังคมของผู้เสพสุรา ยาเสพติด แหล่งมั่วสุม แหล่งอบายมุข ภัยจากนำ้หรืออุบัติเหตุบนท้องถนน แต่แท้ที่จริงแล้วการใช้วิธีการดังกล่าวกลับเป็นการสร้างความอ่อนแอให้กับเด็กและมีผลต่อการทำให้เด็กเกิดภาวะตกใจ ลังเล ไม่สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเอง
  •  ดังนั้นการสอนด้วยการฝึกปฏิบัติจริงและให้ความรู้ทั้งจากทางโรงเรียนและการเลี้ยงดูจากทางบ้านที่ฝึกให้เด็กเผชิญกับภาวะเสี่ยง คิดตัดสินใจแก้ปัญหาเพื่อจัดการและผ่านเหตุการณ์ความเสี่ยงด้วยตนเองต่างหากจึงน่าจะเป็นการพัฒนาเด็กอย่างถูกวิธี เพราะไม่ว่าเด็กในยุคสมัยใด หรือเป็นชนชาติใดนั้นต่างมีลักษณะร่วมตามธรรมชาติที่แท้ของเด็ก คือ
    เด็กทุกคนต่างชอบการผจญภัยและอยากเป็นตัวของตนเอง เผชิญความท้าทาย พยายามแก้ปัญหาด้วยตนเองซำ้แล้วซำ้อีก และจะภูมิใจเป็นอย่างมากถ้าสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองผ่านการใช้สัญชาตญาณความไวต่อการอยู่รอด (Life Sense)
  •  อย่างไรก็ตามวิธีการที่สำคัญที่สุดในการเตรียมเด็กให้สามารถเผชิญ ผจญและผ่านปัญหาได้ด้วยตนเองจากปัจจัยเสี่ยงในสังคม คือความสามารถที่จะตัดสินใจในทางที่ถูกกับเหตุการณ์ที่ต้องมี การตัดสินใจให้ทันท่วงที หรืออย่างรู้เท่าทันตนเองและผู้อื่นนั้น
     ทักษะดังกล่าวจำเป็นจะต้องได้รับการฝึกฝน ฝึกหัด การควบคุมและติดตามการกระทำของตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง  การออกแบบชุดกิจกรรมสำหรับเด็กวัยอนุบาลและวัยประถมศึกษาตอนต้นที่จะใช้ที่โรงเรียนควบคู่กับทางบ้านจึงเป็นยุทธวิธีหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้อยู่รอดได้จากความท้าทาย โครงการเล่น ละ โลภ และโครงการตาไว ไกลภัย จึงเป็นหนึ่งในโครงการที่ถูกออกแบบเพื่อจัดเตรียมสื่อที่จะพัฒนาการใช้ สัญชาตญาณความไวต่อการอยู่รอดอย่างถูกวิธี
     ผ่านการทำงานของสมองแบบเป็นองค์รวม (whole brain approach) จาก การใข้การรับรู้ผ่านทางร่างกาย (Body Sensing) ทาง ความรู้สึก (Feeling Sensing) การใช้เหตุผล (Reasoning Sensing) และการรับรู้เกี่ยวกับชุมชน (Community Sensing) เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้รับการฝึกฝนให้รู้จักตัดสินใจได้ทันท่วงทีและรู้เท่าทัน

ติดต่อเรา

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ
เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

การพัฒนาการดำเนินการของโครงการ ฯ ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดประชุมเพื่อพัฒนางานเป็นจำนวน 23 ครั้ง ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม 2561

การดำเนินการตลอดระยะเวลา 6 เดือนนี้พบว่ามีความคืบหน้าในการพัฒนาหลักการทฤษฎีรองรับ กระบวนการเรียนรู้และบทบาทครู รวมถึงการพัฒนาชุดสื่อกิจกรรมใน 7 ลักษณะ คือ ภาพยนตร์รณรงค์ นิทาน เพลง กิจกรรม การทดลอง การรณรงค์เพื่อสังคม Stop Motion เพื่อเตรียมการสำหรับการลงพื้นที่กับนักเรียนในระดับอนุบาลและประถมศึกษาตอนต้นจากทุกภาค รวมทั้งสิ้น 15 โรงเรียน ซึ่งจะเป็นการดำเนินการในระยะต่อไป

ส่งข้อเสนอแนะให้เรา

    This site is protected by reCAPTCHA and the Google Privacy Policy and Terms of Service apply.
    Facebook-f Instagram Envelope

    ©2020 All Rights Reserved. ARRAG-Project.com

    Only administrators can add new users.

    Only administrators can add new users.

    [flipbook id=”1″]